Cisc
Memory Usage
ในการใช้ของสถาปัตกรรมแบบ CISC นั้น ชุดของคำสั่งจะมีมากมายหลายคำสั่งที่ ซับซ้อนและยุ่งยาก แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า ทุกชุดคำสั่งจะมีการ FIX CODE กล่าว คือ ถ้ามีการใช้ชุดคำสั่งที่มีความซับซ้อนมากก็จะใช้จำนวน BIT มาก แต่ถ้าใช้งานชุดคำสั่งที่มีความซับซ้อนน้อยก็จะใช้งานจำนวน BIT น้อยเช่นกัน ในการเก็บชุดคำสั่งของ CISC นั้นจะเก็บเท่ากับจำนวนจริงของการใช้งาน จึงประหยัดเนื้อที่ใน Memory
ข้อเสีย
เนื่องจากการเก็บชุดของคำสั่งนั้น เก็บเฉพาะการใช้งานจริง ซึ่งจะใช้งาน Memory น้อย แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าจะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานแต่ จะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ช้าลง เพราะต้องเสียเวลาในการถอดรหัสอันยุ่งยากของการเข้ารหัสที่มีขนาดไม่เท่ากัน
ข้อเสีย
เนื่องจากการเก็บชุดของคำสั่งนั้น เก็บเฉพาะการใช้งานจริง ซึ่งจะใช้งาน Memory น้อย แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าจะทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานแต่ จะทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ช้าลง เพราะต้องเสียเวลาในการถอดรหัสอันยุ่งยากของการเข้ารหัสที่มีขนาดไม่เท่ากัน
Performance
1. เนื่องจาก CISC มีชุดของ Complex Instruction มากกว่า RISC และในคำสั่งพิเศษที่มีอยู่ใน CISC นั้น (หรือคำสั่งยากๆ) เช่น การทำ Polynomial ในการทำงานหนึ่งคำสั่งของ CISC อาจใช้เวลา (CLOCK) มากกว่าการนำเอาคำสั่งที่มีอยู่ใน RISC หลายๆ คำสั่งมารวมกันเสียอีก
2. ประสิทธิภาพอาจลดลงเนื่องจากเสียเวลาในการ DECODE เพราะชุดคำสั่งของ CISC ไม่แน่นอน มีทั้งสั้นและยาว อีกทั้งวงจรมีความสลับซับซ้อนมาก และใช้ CLOCK CYCLE นาน จึงทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง และ ใช้เวลานานกว่าในการประมวลผล
Compiler Support
ใน CISC มีชุดคำสั่งที่ซับซ้อนซึ่งติดมากับตัว CPU อยู่แล้ว แต่เมื่อมาทำการ CODE หรือเขียนโปรแกรมแล้วผ่านตัว Compiler หรือตัวแปลงจากโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง จะพบว่าคำสั่งยากๆ ที่มีอยู่ใน CPU นั้น ตัว Compiler กลับแปลงให้อยู่ในรูปของคำสั่งง่ายๆ หรือ กล่าวคือ Software ไม่ Support กับ Hardware ซึ่งใน CPU หรือ Hardware นั้นมีการรองรับการทำงานของชุดคำสั่งนี้ แต่ตัว Software ไม่ได้มีการใช้คุณสมบัติจากชุดของคำสั่งที่ติดมากับตัว CPU แต่อย่างใด ดังนั้นชุดคำสั่งที่บรรจุเอา Complex Instruction ไว้ใน CISC นั้น จะไม่ค่อยมีประโยชน์มากนัก ถ้าหากว่าตัว Compiler นั้นไม่รองรับ และยิ่งไปกว่านั้นตัว Compiler บางตัวยังมีชุดคำสั่งยากๆ อยู่ในตัวมันแล้ว กลับยิ่งหมายความว่าจะไม่ได้ใช้งานจากสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นมาใน CISC นี้เลย
ใน CISC มีชุดคำสั่งที่ซับซ้อนซึ่งติดมากับตัว CPU อยู่แล้ว แต่เมื่อมาทำการ CODE หรือเขียนโปรแกรมแล้วผ่านตัว Compiler หรือตัวแปลงจากโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง จะพบว่าคำสั่งยากๆ ที่มีอยู่ใน CPU นั้น ตัว Compiler กลับแปลงให้อยู่ในรูปของคำสั่งง่ายๆ หรือ กล่าวคือ Software ไม่ Support กับ Hardware ซึ่งใน CPU หรือ Hardware นั้นมีการรองรับการทำงานของชุดคำสั่งนี้ แต่ตัว Software ไม่ได้มีการใช้คุณสมบัติจากชุดของคำสั่งที่ติดมากับตัว CPU แต่อย่างใด ดังนั้นชุดคำสั่งที่บรรจุเอา Complex Instruction ไว้ใน CISC นั้น จะไม่ค่อยมีประโยชน์มากนัก ถ้าหากว่าตัว Compiler นั้นไม่รองรับ และยิ่งไปกว่านั้นตัว Compiler บางตัวยังมีชุดคำสั่งยากๆ อยู่ในตัวมันแล้ว กลับยิ่งหมายความว่าจะไม่ได้ใช้งานจากสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นมาใน CISC นี้เลย
Rics
Memory Usage
ข้อดี
เนื่องจากการเก็บข้อมูลของ RISC นี้เป็นลักษณะ FIX CODE จึงส่งผลให้การถอดรหัสรวดเร็ว เพราะชุดคำสั่งเท่ากันทุก Record
เนื่องจากการเก็บข้อมูลของ RISC นี้เป็นลักษณะ FIX CODE จึงส่งผลให้การถอดรหัสรวดเร็ว เพราะชุดคำสั่งเท่ากันทุก Record
ข้อเสีย
สถาปัตยกรรมแบบ RISC นั้นเน้นหลักการของการนำเอาชุดของคำสั่งง่ายๆ เพียงไม่กี่คำสั่ง (โดยทั่วไปไม่เกิน 128 คำสั่ง เช่น บวก,ลบ,คูณ,หาร) มาประกอบรวมเข้าไว้ด้วยกัน 128 คำสั่ง มีค่าเท่ากับ 2 ยกกำลัง 6 หรือกล่าวคือใช้งานแค่ 6 BIT ในการเก็บค่าของชุดคำสั่ง ในการเก็บชุดคำสั่งจึง FIX CODE ไว้แค่ 6 เท่านั้น ซึ่งเกิดข้อเสียคือถ้าหากคำสั่งที่ใช้งานใช้แค่ 1 BIT ก็ยังคงเก็บ 6 BIT เกิด WasteSpace
สถาปัตยกรรมแบบ RISC นั้นเน้นหลักการของการนำเอาชุดของคำสั่งง่ายๆ เพียงไม่กี่คำสั่ง (โดยทั่วไปไม่เกิน 128 คำสั่ง เช่น บวก,ลบ,คูณ,หาร) มาประกอบรวมเข้าไว้ด้วยกัน 128 คำสั่ง มีค่าเท่ากับ 2 ยกกำลัง 6 หรือกล่าวคือใช้งานแค่ 6 BIT ในการเก็บค่าของชุดคำสั่ง ในการเก็บชุดคำสั่งจึง FIX CODE ไว้แค่ 6 เท่านั้น ซึ่งเกิดข้อเสียคือถ้าหากคำสั่งที่ใช้งานใช้แค่ 1 BIT ก็ยังคงเก็บ 6 BIT เกิด WasteSpace
Performance
1. การ ทำงาน จะ ทำ ได้ เร็ว กว่า CISC เพราะ RISC ประกอบ ด้วย คำ สั่ง ง่ายๆ เช่น LOAD/STORE ใช้ ใน การ LOAD ข้อ มูล เก็บ ไว้ ใน REGISTER โดย ตรง และ ให้ REGISTER ทำ การ ประมวล ผล จาก นั้น ค่อย STORE เก็บ ไว้ ใน MEMORY (โดย ทั่วไป การ ทำงาน ของ Computer เรียง ลำดับ ความ เร็ว มี ดัง ต่อ ไป นี้ CPU , REGISTER , MEMORY , DISK)
2. เนื่อง จาก การ เข้า รหัส ของ ชุด คำ สั่ง เป็น ลักษณะ FIX-ENCODING จึง ง่าย ต่อ การ DECODE หรือ ถอด รหัส
3. ใน สถาปัตยกรรม แบบ RISC มี REGISTER จำนวน มาก จึง ทำ ให้ การ ทำงาน โดย รวม รวด เร็ว
4. การ ใช้ งาน คำ สั่ง ง่ายๆ ของ RISC นี้ บาง คำ สั่ง ใช้ เวลา (CLOCK CYCLE) ไม่ ถึง 1 CLOCK จึง ส่ง ผล ให้ ทำงาน ได้ รวด เร็ว
1. การ
2. เนื่อง
Compiler Support
ใน RISC นั้น มี คำ สั่ง ประมาณ 128 คำ สั่ง แนบ มา กับ CPU และ อนุญาต ให้ ใช้ งาน คำ สั่ง ประเภท LOAD/STORE ที่ นำ ข้อ มูล จาก MEMORY ไป กระทำ กับ REGISTER โดย ตรง ซึ่ง ทำ ให้ การ ทำงาน โดย รวม เร็ว กว่า จาก จุด นี้ เอง ใน การ ใช้ งาน ใน ส่วน ของ คำ สั่ง ที่ ซับ ซ้อน อาจ ต้อง ใช้ คำ สั่ง ใน ตัว Compiler มา ใช้ งาน มาก กว่า RISC เพราะ RISC เน้น หลัก การ ทำงาน ของ ชุด คำ สั่ง ที่ ง่ายๆ แต่ เร็ว ดัง นั้น คำ สั่ง ยากๆ จึง โยน ให้ เป็น หน้าที่ ของ ตัว Compiler แทน ครับ
ใน RISC นั้น